ยินดีต้อนรับสู่ ฟอร์เอฟเวอร์ แอนด์ อะเดย์ เทคโนโลยี 

  • จ-ศ: 8.00am to 5.00pm
Search

เครื่องวัดความสั่นสะเทือน - Vibration Meter

Vibration meter ตัวนี้ใช้วิเคราะห์สัญญาณอินพุต ผลลัพธ์รวมถึงRMS Velocity ค่า peak-Peak มูลค่า Displacement ค่า Acceleration หรือ  Real-time Spectral

Vibration meter ตัวนี้ใช้สำหรับการตรวจวัดข้อผิดพลาด ของมอเตอร์ พัดลมไฟฟ้า ปั๊ม เครื่องอัดอากาศ เครื่องมือกล และอื่น ๆ แบบเร่งด่วน และรวดเร็ว

vibration meter ใช้สำหรับข้อมูลการเร่งความเร็วสูงสุด ข้อมูลความเร็ว RMS และการวัดข้อมูล Displacement Peak-Peak

Vibration meter รุ่นนี้ใช้สำหรับการตรวจวัดข้อผิดพลาด ของมอเตอร์ พัดลมไฟฟ้า ปั๊ม เครื่องอัดอากาศ เครื่องมือกล และอื่น ๆ

Acceleration: 0.5~199.9 m/s²
Displacement: 0.5~199.9 mm/s
Accuracy: ±(5%+5digits)
Measurement modes: RMS, Peak Value หรือ Max Hold

ใช้เวลาเพียง 10 วินาทีในการเก็บข้อมูล ประมวลผล และแสดงค่าที่ได้จากการวัดในสามแกน การอ่านค่าการสั่นสะเทือนแบบเต็มของตลับลูกปืนจะแสดงเพิ่มเติมในหน้าข้อมูล

Acceleration: 0.1~199.9m/s
Velocity: 0.1~199.9m/s
Accuracy: ±(5% rdg.+2dgt.)
Displacement: 0.001~1.999mm

Acceleration: 0.1~199.9m/s
Velocity: 0.1~199.9m/s
Accuracy: ±(5% rdg.+2dgt.)
Displacement: 0.001~1.999mm

Acceleration: 656ft/s2, 
Displacement: 0.078in, 2mm
Accuracy: ±(5%+2digits);
Measurement modes: RMS, Peak Value หรือ Max Hold

Acceleration: 200m/s2,
Velocity: 200mm/s
Accuracy: of ±(5%+2digits)
RMS or Peak Value measurement modes

Acceleration: 656 ft/s², 200 m/s²
Velocity: 7.87 in/s, 200 mm/s
Accuracy: ±(5% rdg.+1dgt.)
RMS or Peak Value measurement modes

Acceleration: 200m/s2,
Velocity: 200mm/s
Accuracy of ±(5% + 2 digits)
RMS or Peak Value measurement modes

Acceleration: 0.1~199.9m/S2 
Speed range: 0.001~1.999mm/s
Displacement: 0.001~1.999mm

Acceleration: 200m/s² to 199.9m /s²
Velocity: 200m/s to 199.9mm/s
Displacement: 0.078 in, 2mm

Parameter: RMS of velocity
Transmission: 10Hz – 1kHz
Accuracy: ±(5% rdg. + 2 dgt.

Acceleration: 200m/s2,
Velocity: 200mm/s
Displacement of ±(5% + 2 digits)

เครื่องวัดความสั่นสะเทือน คือ ( Vibration meter )

   ความสั่นสะเทือน (Vibration) คือ การแกว่งหรือการสั่นของวัตถุรอบๆ จุดสมดุล เช่น การสั่นสะเทือนของมอเตอร์หรือเครื่องจักร  การสั่นสะเทือนของมอเตอร์ต่างๆ เป็นต้น งานอุตสหกรรม 1 แห่ง สามารถใช้เครื่องวัดแรงสั่นสะเทือนร่วมกันกับแผนกอื่นๆได้  เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ  ไม่ว่าจะเป็น แผนกความปลอดภัยในการวัดความสั่นสะเทือนเพื่อบ่งบอกถึงความแข็งแรงของโครงสร้างอาคาร, แผนกซ่อมบำรุงในการป้องกันการ Breakdown , และแผนกอื่นๆ ที่ต้องทำงานร่วมกับเครื่องจักรต่างๆ

เครื่องวัดความสั่นสะเทือน หรือ Vibration Meter คือเครื่องมือที่ใช้วัดค่าต่างๆของงาน Vibration เช่ร Displacement , Velocity เป็นค่าพื้นฐานของความสั่นสะเทือน ถูกใช้ในงานการดูแลและซ่อมแซมเครื่องจักรกล การติดตั้งเครื่องจักรใหม่ หรือในงานวิจัยและพัฒนา เพื่อวัดค่าความเร็ว, ความเร่ง และการกระจัดของวัตถุหรือเครื่องจักรกลที่สั่นสะเทือน

ซึ่งความสั่นสะเทือนที่มากเกินปกตินั้น หากเกิดความละเลย ไม่มีการตรวจเช็คจนเกิดความเสียหาย ไม่ว่าจะเกิดกับเครื่องจักร หรือชิ้นส่วนภายใน ผลลัพธ์ที่ได้ต่อมาคือค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม หรือเกิดการ Breakdown ทำให้เกิดความล่าช้าต่อการผลิต ร้ายแรงที่สุดคือ ต้องซื้อเครื่องจักรใหม่เลยก็ยังมี โดยเครื่องวัดความสั่นสะเทือน (Vivration Meter) สามารถช่วยในงานตรวจสอบและซ่อมบำรุง เพื่อให้ทราบปัญหาของเครื่องจักรได้อย่างง่ายดาย และไม่จำเป็นต้องเข้าไปเสี่ยงในพื้นที่อันตราย

หน่วยการวัดความสั่นสะเทือนหลักๆ มี 3 หน่วยคือ Displacement ,Velocity ,Acceleration

การวัดระยะทางของการสั่นสะเทือน (Displacement)

มักใช้ในการวัด การสั่นสะเทือน ของรอบเครื่องจักร จากระยะเคลื่อนที่จุดแรก ไปถึงจุดอ้างอิงเท่าไหร่ โดยวัดแบบเต็มคลื่น (Peak to Peak)

นิยมวัดเป็นมิลลิเมตร (mm) หรือนิ้ว(inch)

มักใช้กับเครื่องจักรที่มีรอบต่ำๆ ไม่เกิน 1200 รอบ/นาที หรือการสั่นสะเทือนที่มีความถี่ไม่เกิน 20 Hz

การวัดความเร็ว (Velocity)

มักใช้ในการวัด การความเร็วรอบของเครื่องจักร โดยวัดแบบ RMS

นิยมวัดเป็นมิลลิเมตรต่อวินาที (mm/s)

ใช้กับเครื่องจักรที่มีความเร็วรอบมากว่า 1,200 รอบ/นาที หรือการสั่นสะเทือนที่มีความถี่ระหว่าง 20 Hz-1000 Hz

การวัดอัตราเร่ง (Acceleration)

มักใช้ในการวัด การเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนของความเร็วในการเคลื่อนที่ต่อหน่วยเวลาของวัตถุที่มีการเคลื่นที่

นิยมวัดเป็นมิลลิเมตร/วินาทีกำลังสอง (mm/s2)

มักใช้วัดกับการสั่นสะเทือนที่มีความถี่สูงตั้งแต่ 10 kHz ขึ้นไป

รูปแบบของการสั่นสะเทือน (Vibration Type)

  • การสั่นสะเทือนโดยอิสระ (Free Body Vibration) การสั่นสะเทือนที่ทิศทางของการสั่นสะเทือนเป็นไปได้โดยอิสระ ตามทิศทางของแรงที่เกิดขึ้นจากการสั่นสะเทือน โดยไม่มีส่วนที่เป็นวัตถุแข็งมา ขวางทิศทางของชิ้นส่วนที่สั่นสะเทือนนั้นๆ เช่น ทุบโต๊ะ ตีแผ่นสังกะสี
  • การสั่นสะเทือนแบบเคลื่อนที่ผ่าน (Meshing or Passing Vibration) การสั่นสะเทือนของชิ้นส่วนของเครื่องจักรที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อเปรียบเทียบกับจุดอ้างอิงจุดใดจุดหนึ่งที่ชิ้นส่วน ที่ทำการวิเคราะห์การสั่นสะเทือน หมุนหรือเคลื่อนที่ผ่าน
  • การสั่นสะเทือนจากแรงเสียดทาน (Frictional Vibration) การสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นจากแรงเสียดทานในการหมุน หรือเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องจักร
Read Our Latest News

News & Articles

Reliability Centered Maintenance (RCM) เป็นกระบวนการวางแผนและดำเนินการบำรุงรักษาที่เน้นการเพิ่มความเชื่อถือได้ของอุปกรณ์และเครื่องจักร โดยการวิเคราะห์ความล้มเหลวและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน และ การบำรุงรักษาเชิงคาดการณ์ คืออะไร ต่างกันอย่างไร คาดการณ์ปัญหาได้แม่นยำ ลด downtime และซ่อมเฉพาะจุดที่จำเป็น ทำให้ประหยัดต้นทุน
FOREVER AND A DAY TECHNOLOGY

Product